• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ปูนปั้น

📢เจาะสำรวจดิน📢 สิ่งจำเป็น 🎯แต่คนมองข้าม เหตุผลที่ต้องเจาะสำรวจดิน🛒

Started by luktan1479, July 24, 2024, 03:57:07 PM

Previous topic - Next topic

luktan1479

✅🌏🎯โดยปกติแล้วเมื่อท่านทำการก่อสร้างบ้าน อาคารต่าง ๆ✨ ถ้าท่านไม่ใช่วิศวกรส่วนใหญ่ก็จะทำตามแนวทางที่ผู้รับเหมาแนะนำ✨ แต่ผู้รับเหมาบางเจ้า✅ต้องการลดค่าใช้จ่าย⚡ (ผมขอย้ำว่าบางราย ไม่ใช่ทุกรายนะครับ✅) ก็จะละเว้นการทดสอบบางอย่างที่เห็นว่าไม่จำเป็น✨ ซึ่งสิ่งแรก ๆ ที่มักถูกตัดออกคือการเจาะสำรวจดิน🦖 ในบทความนี้จะอธิบายความสำคัญของการเจาะสำรวจดินก่อนการก่อสร้าง✨ ว่าเหตุใดจึงไม่ควรมองข้ามและมีประโยชน์อย่างไร📌



📢🌏⚡🥇ความสำคัญของการเจาะสำรวจดิน✨✨🥇🛒🎯

1. เพื่อทราบชนิดและประเภทของดินใต้พื้นที่ก่อสร้าง📢 เพื่อประเมินลักษณะเชิงกล🛒 เพื่อเลือกใช้ฐานรากได้ถูกประเภท👉 หากดินมีความแข็งแรงเพียงพอ อาจเลือกใช้ฐานแผ่🎯
2. เพื่อทราบความลึกของชั้นดินแข็ง✨ ว่าอยู่ลึกลงไปเท่าไร เพื่อการคำนวณกำลังรับน้ำหนักของเสาเข็ม🥇 และคาดคะเนความยาวเสาเข็มที่ต้องใช้ได้📢
3. ลดความผิดพลาดในการตอกเสาเข็ม🌏 หากพบชั้นดินแข็งที่ไม่หนาในความลึกที่น้อย⚡ อาจทำให้คนตอกเสาเข็มหยุดตอก เพราะคิดว่าถึงชั้นดินแข็งแล้ว🥇 แต่จริง ๆ สามารถตอกทะลุลงไปได้หากเข่นลงไปอีกซักพัก📌
4. หากดินในบริเวณที่สำรวจมีความผันผวนมาก🦖 วิศวกรอาจสั่งให้เจาะสำรวจดินหลาย ๆ หลุมเพื่อเปรียบเทียบ👉 อาจต้องออกแบบฐานรากหลายแบบเพื่อก่อสร้างอาคารในบริเวณนั้น🦖

⚡✨🥇🎯วิธีการเจาะสำรวจดินที่นิยม⚡✨🥇🛒👉

1. การเจาะสำรวจดิน โดยใช้เครื่องเจาะแบบ Motorized Drilling Rig⚡
เป็นเครื่องเจาะสำรวจดินที่สามารถขนย้ายเข้าจุดเจาะสำรวจดินได้แบบไม่ยุ่งยาก📢 อีกทั้งยังเป็นที่ชื่นชอบของเหล่าบรรดาหน่วยเจาะสำรวจดิน📌 ว่ากันด้วยเรื่องของความง่าย🥇 และประหยัดเวลาในการติดตั้ง📢 ทำให้งานเจาะสำรวจดินเสร็จเร็วขึ้น ในที่นี้ขอกล่าวถึง การเจาะแบบฉีดล้าง (Wash Boring)✅ ก็จะเป็นในลักษณะของการใช้เครื่องสูบน้ำช่วยเจาะด้วยหัวกระทุ้ง (Chopping Bit)👉 ต่อจากแท่งเจาะ🎯 ปลายบนต่อกับหัวหมุนน้ำ🎯 ซึ่งจะต่อไปยังเครื่องสูบน้ำขณะทำการกระทุ้งดิน📢 จะทำการสูบน้ำฉีดหัวเจาะผ่านรูก้านเจาะตลอดเวลา🛒 น้ำที่ฉีดจะไหลวนขึ้นมาพร้อมกับเศษดิน ซึ่งจะมาตกในบ่อน้ำวน จนได้ความลึกที่ต้องการเก็บตัวอย่าง
การเจาะตลอดความลึกของหลุมเจาะ ในชั้นดินเหนียวอ่อน📢 หลุมเจาะจะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4 นิ้วและลดลงเหลือ 3 นิ้ว ในชั้นดินแข็ง🦖 ระหว่างดำเนินการเจาะสำรวจดินก็ต้องมีการฝัง ท่อป้องกัน🎯 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 นิ้วลงไปจนถึงดินแข็ง👉 เพื่อป้องกันการพังทลาย✅ และใช้ Bentonite Slurry🦖 ช่วยกันดินพังในชั้นทราย⚡ ทำการเจาะจนถึงชั้นดินแข็งที่มีค่า SPT-N > 50✅

2.การเจาะสำรวจดินด้วย Rotary Drilling🛒
สามารถใช้เจาะดินได้ทุกประเภท✅ เป็นลักษณะของเครื่องเจาะสำรวจดินที่มีประสิทธิภาพสูง🛒 ด้วยระบบไฮดรอลิก⚡ เข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพแทนแรงงานคน📌 สามารถเจาะได้ลึกกว่า 40 เมตร👉 โดยใช้เครื่องยนต์ (Rotary Drilling Rig)🛒 ที่ส่งกำลังแรงปั่นหัวเจาะลงไปลึก ๆ และอยู่ในระดับความเร็วที่ต้องการ📢 ดินจะถูกนำขึ้นมาตาม flight auger🦖
วิธีนี้เครื่องยนต์จะใช้กำลังบิดหัวเจาะมาก🎯 ดังนั้นจึงมักเจาะสำรวจดินลงไปในช่วงสั้น ๆ เช่น 1.5 เมตร✨ แล้วยกหัวเจาะขึ้น เพื่อนำดินออก🦖 แล้วเจาะต่อไปอีก 1.5 เมตร🦖 จึงสามารถตรวจลักษณะชั้นดินได้ตลอดความลึก📢 การใช้หัวเจาะผนวกกับการเจาะสำรวจดินแบบฉีดล้าง✨ หรือจะเป็นไปในลักษณะของการเจาะสำรวจดินด้วยความเร็วสูง✅ ทำให้ตัดดินขาดออก พร้อมทั้งปล่อยน้ำ✨ โดยใช้แรงดันน้ำสูง🌏 เพื่อพาดินตัดขาดแล้วกลับขึ้นมาที่ผิวดิน🥇 เศษดินหรือหินจะถูกส่งขึ้นมาด้วยน้ำจากก้นหลุมเจาะด้วยหัวฉีดที่อยู่บริเวณหัวเจาะ📢 ในดินแข็งหลุมจะไม่พังทลาย🥇

แต่ในลักษณะดินที่เป็น soft clay or sand🌏 ต้องใช้ท่อเหล็กป้องกันการพังทลาย📢 หรือไม่ก็ต้องใช้ drilling mud (ส่วนผสมของน้ำกับสาร Bentonite)🌏 ผสมลงในน้ำที่ฉีดลงไปในหลุมเจาะ เพื่อป้องกันการพังทลายของหลุมเจาะ📌 นอกจากจะทำให้ผนังและหลุมเจาะไม่พังแล้ว ยังช่วยพาเอาวัสดุเม็ดใหญ่จากก้นหลุมขึ้นมาด้วย🛒 เป็นเหตุให้หลุมเจาะสะอาด ในกรณีพบหินแข็งต้องเป็นหัวเจาะเพชรเพื่อกัดลงในชั้นหินให้ได้พร้อมเก็บตัวอย่างแท่งหิน👉 จึงเรียกว่า Rock Coring🛒
Tags : ทดสอบดิน